svasdssvasds

ความแตกต่างทางพื้นฐานเศรษฐกิจไทย ระหว่างต้มยำกุ้ง กับโควิด-19

ความแตกต่างทางพื้นฐานเศรษฐกิจไทย ระหว่างต้มยำกุ้ง กับโควิด-19

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้วิเคราะห์ ความแตกต่างทางพื้นฐานเศรษฐกิจไทย ระหว่างต้มยำกุ้ง กับโควิด-19

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ได้วิเคราะห์ ความแตกต่างทางพื้นฐานเศรษฐกิจไทย ระหว่างต้มยำกุ้ง เมื่อปี 2540  กับ โควิด-19 ในปี 2563 ไว้ดังนี้

ต้มยำกุ้ง ปี 2540

1. เศรษฐกิจไม่สมดุล

- อัตราแลกเปลี่ยน ผูกกับเงินดอลล่าร์

- หนี้ต่างประเทศสูง

- มีการเก็งกำไรสูง ในหุ้นและอสังหาฯ

2. ภาวะไม่สมดุล และปัญหาในภาคสถาบันการเงิน นำมาสู่ปัญหาความเชื่อมั่น และการโจมตีค่าเงินบาท

3. ภาวะล้มละลาย ปรากฏชัดเจนที่ธุรกิจขนาดใหญ่

4. การจัดการของทางการ เน้นฟื้นฟูให้กลไกเศรษฐกิจกลับมา

วิกฤตโควิด-19 ปี 2563

1. เศรษฐกิจมีพื้นฐานที่ดีกว่า

- อัตราแลกเปลี่ยน แบบลอยตัว

- หนี้ต่างประเทศ ระดับต่ำ

- การเก็งกำไรระดับต่ำในสิน ทรัพย์

2. Shock ขนาดใหญ่มาก เศรษฐกิจหดตัวทั่วโลก คาดว่าหากคลี่ คลาย จะฟื้นตัวได้เร็วกว่าปี 2540

3. ซ้ำเติมการชะลอตัวของเศรษฐกิจ จากระยะก่อนหน้า และผลกระทบกระจายลงสู่รากหญ้ามากขึ้น

4. มาตรการป้องกัน ไม่ให้กลไกทางเศรษฐกิจหยุดทำงาน และดำเนินการรวดเร็ว

ความแตกต่างทางพื้นฐานเศรษฐกิจไทย ระหว่างต้มยำกุ้ง กับโควิด-19