svasdssvasds

พรรคเพื่อไทย ครองเขตเลือกตั้งที่ 20 เขตลาดกระบัง (ยกเว้นแขวงลำปลาทิว)

พรรคเพื่อไทย ครองเขตเลือกตั้งที่ 20 เขตลาดกระบัง (ยกเว้นแขวงลำปลาทิว)

นิด้าโพล ทำนายผลการเลือกตั้ง 2566 ทั้ง 33 เขต กทม. คาดว่า พรรคก้าวไกลครองทุกเขต ยกเว้นเขตเลือกตั้งที่ 20 เขตลาดกระบัง (ยกเว้นแขวงลำปลาทิว) ซึ่งพรรคเพื่อไทยได้ไปครอง โดยปรากฎชื่อ นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวานิชย์ จากพรรคเพื่อไทย ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส.ส.กทม. เขตลาดกระบัง

ศูนย์สำรวจความคิดเห็น “นิด้าโพล” สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) คาดการณ์ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) 2566 เขตเลือกตั้งที่ 20 เขตลาดกระบัง (ยกเว้นแขวงลำปลาทิว) นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวานิชย์  ผู้สมัครรับเลือกตั้ง ส.ส.กทม. เขตลาดกระบัง (ยกเว้นแขวงลำปลาทิว) จากพรรคเพื่อไทย ได้ไปครองในเขตนี้

พรรคเพื่อไทย ครองเขตเลือกตั้งที่ 20 เขตลาดกระบัง (ยกเว้นแขวงลำปลาทิว)

เนื้อหาที่น่าสนใจ : 

รายชื่อผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) เขตเลือกตั้งที่ 20 : เขตลาดกระบัง (ยกเว้นแขวงลำปลาทิว) มีดังนี้

เบอร์ 1 นายบุญรุ่ง เต๋งจงดี พรรคพลังประชารัฐ

เบอร์ 2 นางชัญญาพัชญ์ ธนัตพรภัคพงศ์ พรรคคลองไทย

เบอร์ 3 นายณัทพัช อัคฮาด พรรคชาติไทยพัฒนา

เบอร์ 4 นายรณชัย สังฆมิตกล พรรครวมไทยสร้างชาติ

เบอร์ 5 นายเอกฤทธิ เจียกขจร พรรคภูมิใจไทย

เบอร์ 6 นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ พรรคเพื่อไทย

เบอร์ 7 นายกรกฤษณ์ วงศ์คุณหยก พรรคชาติพัฒนากล้า

เบอร์ 8 นายวันชัย รัตนขจรไชย พรรคเสรีรวมไทย

เบอร์ 9 นายชุมพล หลักคำ พรรคก้าวไกล

เบอร์ 10 นายสุเทพ บรรจง พรรคไทยภักดี

เบอร์ 11 นายสุพจน์ ฤกษ์ดี พรรคประชาธิปัตย์

เบอร์ 12 นางสาววัชญ์รัชชญา จันทชุมประพัฒน์ พรรคเพื่อชาติไทย

เบอร์ 13 นางสาวนรัชช์อร พงศภัคคณนันท์ พรรคแนวทางใหม่

เบอร์ 14 ว่าที่ร้อยตรีหญิงนุชนาฏ หุ่นอยู่ พรรคไทยสร้างไทย

เบอร์ 15 นายลูกัสเอราดัส โครนีเวล พรรคประชาไทย

วิธีการเก็บคะแนนประกอบด้วย

ดำเนินการสำรวจระหว่างวันที่ 1-11 พฤษภาคม 2566 จากประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และมีสิทธิเลือกตั้ง กระจายทุกระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ ทั่วประเทศ รวมทั้งสิ้น จำนวน 2,000 หน่วยตัวอย่าง การสำรวจอาศัยการสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็นจากบัญชีรายชื่อฐานข้อมูลตัวอย่างหลัก (Master Sample) ของ “นิด้าโพล” สุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบง่าย (Simple Random Sampling) เก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ โดยกำหนดค่าความเชื่อมั่น ร้อยละ 97.0

การวิเคราะห์สื่อ (Media Analysis) และการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ทางการเมือง โดยใช้ผลการสำรวจ (โพล) ประกอบการวิเคราะห์ เพื่อคาดการณ์จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส) รวมแบบแบ่งเขตและแบบบัญชีรายชื่อของแต่ละพรรคการเมือง ผลการวิเคราะห์ค้นพบ

 

ที่มา : NIDA Poll